วันพุธที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2552

“Live & Learn” โดย กมลา สุโกศล และ บอยด์ โกสิยพงษ์

เมื่อวันที่ชีวิตเดินเข้ามาถึงจุดเปลี่ยน จนบางครั้งคนเราไม่ทันได้ตระเตรียมหัวใจ
ความสุข ความทุกข์ ไม่มีใครรู้ว่าจะมาเมื่อไหร่ จะยอมรับความจริงที่เจอได้แค่ไหน

เพราะชีวิตคือชีวิต เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสม..มีผิดหวัง..หัวเราะหรือหวั่นไหว เกิดขึ้นได้ทุกวัน

อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน ตามความคิด..สติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

สุขก็เตรียมไว้ ว่าความทุกข์คงตามมาอีกไม่ไกล จะได้รับความจริงเมื่อต้องเจ็บปวดไหว

เพราะชีวิตคือชีวิต เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสม..มีผิดหวัง..หัวเราะหรือหวั่นไหว เกิดขึ้นได้ทุกวัน

อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน ตามความคิด..สติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน ตามความคิด..สติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน ตามความคิด..สติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

__________________________________________________

Analysis

Live & Learn เป็นเพลงที่ให้ความหมายของชืวิตอย่างชัดเจน อย่างที่ชื่อเพลงได้กล่าวถึง ในส่วนรวมแล้ว Live & Learn สื่อให้เห็นถึงความจริงของชิวิต ว่าต้องยอมรับในสิ่งที่เราไม่สามารถเปลื่อนได้
เพลงนี้ให้ความรู้สึกแก่เราว่าชีวิตมีอะไรให้เข้าใจมากขึ้น มีสิ่งต่างๆ ที่เราต้องเผชิญอยู่ทุกวันและ ทำให้เรานั้นรู้ว่าชีวิตคนเรามีแพ้และมีชนะ อาจจะมีท้อบ้างในบางครั้ง แต่เราต้องไม่ถอยหรือหันหลังให้กับปัญหา เพราะชีวิตมีทั้งสุขและทุกข์ ทั้งยิ่มและร้องไห้ เราไม่สามารถไปควบคุมอะไรทั้งนั้น

เพลงนี้สื่อให้เห็นถึงอารมณ์ผู้แต่งจากถ้อยคำที่ถูกกล่าวออกมาผ่านเนื้อเพลง อารมณ์ของเพลง รวมถึงของผู้แต่งล้วนแต่รู้สึกความรัก และความยอมรับ กับชีวิต ว่าชีวิตนี้สามารถมอบสิ่งต่างๆ ให้เราได้ เราอย่าเพียงท้อแท้กับสิ่งที่เราไม่มี หรือทำไม่ได้ นอกเหนือจากอารมณ์ของกลอนแล้ว น้ำเสียงของกลอนนี้ยังช่วยในการสื่อความหมายของเพลงอีกเช่นกัน น้ำเสียงของเพลงนี้ไม่ได้สดใสหรือซึมเศร้า แต่อยู่ระหว่างกลาง ผู้แต่งนั้นได้ย้อนหลังแล้ว reflect upon หรือ คำนึงถึงชีวิตนื้

เนื่อหา อารมณ์และถ่อยคำต่างๆ ที่ผู้เขืยนได้เลือกใช้เหมาสมและเข้ากันได้ดี เพราะคำต่างๆ นั้น คล้องจองกันอย่างสวยงาม ผู้แต่งทำสิ่งนี้ได้สำเร็จโดยการใช้สัมผัสอักษร หรือ alliteration เป็นส่วนมากและใช้จังหวะ (rhythm) เพื่อทำให้เพลงรื่นไหลมากขึ้น รวมถึงเคลื่อนไหวเพลง ทำให้ร้องได้ง่ายขึ้น
ศัพท์ที่ใช้ในเพลงนี้เป็นศัพท์ที่ง่าย ซึ่งทำให้ผู้คนที่ฟังเข้าใจได้สะดวกและเข้าใจลึกถึงความหมายของเพลงได้


Live And Learn - Boyd Kosiyabong

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น